Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bathytoshia lata
Bathytoshia lata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Dasyatis lata (Garman, 1880)
- Dasyatis sciera Jenkins, 1903
- Trygon lata Garman, 1880
ชื่อสามัญ::
-
Brown Stingray
-
Brown stingray
-
Brown stingray, thorntail stingray, black stingray
ชื่อไทย:
-
กระเบนหางหนาม
-
กระเบนหางหนาม, กระเบนหนาม, กระเบนหางหนามสีน้ำตาล
-
ปลากระเบนหางหนาม, ปลากระเบนหางหนามสีน้ำตาล
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
วัชชิระ โซ่โดบ และบัญชา โกยโภไคสวรรค์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นทรายหรือโคลนตามชายฝั่งทะเล และแนวปะการัง จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 800 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 260 ซม. (TL> 400 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 35-130 ชม.(TL 100-350 ซม. และ DL 35-170 ซม.) ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 100-117 ซม. เพศเมีย 110 ซม. และขนาดแรกเกิด 30-35 ชม.
- แผ่นลำตัวหนารูปห้าเหลี่ยม (ในปลาขนาดเล็กมีความกว้างใกล้เคียงกับความยาว) ตาเล็ก มีตุ่มหนามกลางแผ่นลำตัวถึงโคนหาง โดยมีหางยาวกว่าความกว้างแผ่นลำตัว ซึ่งปกคลุมด้วยตุ่มหนามขนาดแตกต่างกัน (ส่วนใหญ่มีเงี่ยงยาว 1 อัน) มีแผ่นหนังที่ด้านล่างของหาง ส่วนที่ด้านบนของหางมีขนาดเล็กมาก แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลหรือเทาเข้มถึงดำ ด้านท้องมีสีขาว และมีขอบสีดำจางๆ
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ปลาที่โตเต็มวัยมีอายุ 20-22 ปี (อายุสูงสุดที่มีรายงานคือ 28 ปี) และสืบพันธุ์ได้เมื่ออายุ 15 ปี ส่วนใหญ่กินปลา และสัตว์หน้าดินขนาดเล็กเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
กระดูกสันหลังใช้เป็นส่วนผสมยา ส่วนหางใช้ทำแส้หรือของแต่งบ้าน และใช้เป็นวัตถุดิบในการทำปลาป่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ด้วงหนวดยาวนํ้าตาล
-
กะหนานปลิง
Acer
Onthophagus vaulongeri
Onthophagus doisuthapensis
Pyrenula brunner
Rhinolophus accuminatus
Previous
Next